การจัดทำบัญชีภาษีอากรอย่างมืออาชีพ

การจัดทำบัญชีภาษีอากรอย่างมืออาชีพ

ชั่วโมงบัญชี
CPD: บัญชี 4:00 ชั่วโมง อื่นๆ 3:30 ชั่วโมง
CPA: บัญชี 4:00 ชั่วโมง อื่นๆ 3:30 ชั่วโมง

วิทยากรหลักสูตร: อาจารย์เกชา สมใจเพ็ง

ราคา 600 บาท




คลิกที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดโบรชัวร์

เนื้อหาหลักสูตร

• เนื้อหาทั้งหมด จำนวน 10 บทเรียน

• ความยาว 7 ชั่วโมง 40 นาที


แบบทดสอบ

• จำนวนข้อสอบ 35 ข้อ

• ได้รับคะแนน 21 ข้อขึ้นไปถือว่าผ่านหลักเกณฑ์การอบรม


เอกสารประกอบการอบรม

• สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่หน้าวีดีโอการอบรม


อุปกรณ์การเข้าใช้งาน

• สามารถอบรมผ่าน PC, Notebook, Smartphone หรือ Tablet


รายละเอียดหลักสูตร


บทที่ 1

สิ่งที่นักบัญชีควรทราบและต้องระมัดระวัง

-การจัดทำบัญชีตามกฎหมายบัญชีและประมวลรัษฎากร

-ปัญหาการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ

-การใช้เกณฑ์สิทธิและเกณฑ์เงินสดในการคำนวณกำไรสุทธิ

-รอบระยะเวลาบัญชีในการคำนวณกำไรสุทธิ

-ภาษีอากรที่มีผลกระทบต่อการคำนวณกำไรสุทธิ


บทที่ 2

หลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ต้องระมัดระวังในการคำนวณกำไรสุทธิ

2.1 รายได้และการรับรู้รายได้

-รายได้ที่ต้องเสียภาษีและรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี

-รายได้ที่ทางบัญชีไม่ถือเป็นรายได้แต่ทางภาษีถือเป็นรายได้

-รายได้ที่ทางภาษีไม่ถือเป็นรายได้แต่ทางบัญชีถือเป็นรายได้

-รายได้ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี

2.2 รายจ่าย

-รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือก่อให้เกิดรายได้

-รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร

-ผลขาดทุนยกมาไม่เกิน 5 ปี

-ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม เงินยืมกรรมการ เงินยืมพนักงานและเงินยืมบริษัทในเครือ

-รายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ

-รายจ่ายส่วนตัวให้โดยเสน่หา

-รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ


บทที่ 3

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

-สินทรัพย์และประเภทของสินทรัพย์

-ความหมายและการรับรู้ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

-การวัดมูลค่าเริ่มแรกของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

-รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์

-การเลิกใช้และการจำหน่ายสินทรัพย์

-การหักค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์

-ปัญหาการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน

-รายจ่ายที่มีลักษณะลงทุน

-ทรัพย์สินสูญหายใช้การไม่ได้จะต้องปฏิบัติอย่างไรให้สรรพากรยอมรับ


บทที่ 4

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ

-ความหมายและการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ

-ราคาทุนและมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ

-การตีราคาสินค้าคงเหลือและปัญหาในการตีราคา

-ต้นทุนของสินค้าคงเหลือและการคำนวณต้นทุน

-การบันทึกสินค้าคงเหลือเป็นค่าใช้จ่าย

-กรณีสินค้าขาดหรือเกินจากสต็อกจะปฏิบัติอย่างไรให้สรรพากรยอมรับ

-หลักเกณฑ์การทำลายสินค้าและวัตถุดิบตามประมวลรัษฎากร


บทที่ 5

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

-ความหมายและความสำคัญของหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

-ประเภทของลูกหนี้ที่จะตัดจำหน่ายหนี้สงสัยจะสูญ

-วิธีการประมาณหนี้สงสัยจะสูญ

-การตัดจำหน่ายหนี้สูญและการบันทึกบัญชี

-ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเกินความต้องการ

-หนี้สูญได้รับคืนและปัญหาการบันทึกบัญชี

-การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้


บทที่ 6

การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกลางปี (ภ.ง.ด 51)


บทที่ 7

การปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ)


บทที่ 8

การกรอกแบบ ภ.ง.ด 50


บทที่ 9

ข้อควรระวังมัดระวังในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

สิ่งที่นักบัญชีควรทราบและต้องระมัดระวัง 1/2 39.18 นาที  
สิ่งที่นักบัญชีควรทราบและต้องระมัดระวัง 2/2 35.53 นาที  
หลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ต้องระมัดระวังในการคำนวณกำไรสุทธิ 1/4 26.21 นาที  
หลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ต้องระมัดระวังในการคำนวณกำไรสุทธิ 2/4 34.58 นาที  
หลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ต้องระมัดระวังในการคำนวณกำไรสุทธิ 3/4 27.21 นาที  
หลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ต้องระมัดระวังในการคำนวณกำไรสุทธิ 4/4 38.22 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 1/4 24.06 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 2/4 37.07 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 3/4 21.28 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 4/4 28.13 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ 1/3 31.58 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ 2/3 17.33 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ 3/3 49.14 นาที  
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 36.32 นาที  
การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกลางปี (ภ.ง.ด 51) 12.23 นาที  
การปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ) 4.31 นาที  
การกรอกแบบ ภ.ง.ด 50 9.52 นาที  
ข้อควรระวังมัดระวังในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล 5.17 นาที  
แบบทดสอบ การจัดทำบัญชีภาษีอากรอย่างมืออาชีพ 35 ข้อ  
9004E การจัดทำบัญชีภาษีอากร (up.2023).pdf
คลิกที่ปุ่ม "สมัครเรียน" เพื่อลงทะเบียนเรียนและเข้าสู่ขั้นตอนการชำระเงิน

ขั้นตอน 1

กรุณาเข้าสู่ระบบ เพื่อความสะดวกแนะนำให้ Login ด้วย Facebook หรือหากยังไม่เป็นสมาชิกกรุณาสมัครสมาชิกก่อนสั่งซื้อคอร์สเรียน

ขั้นตอน 2

เลือกช่องทางในการชำระเงิน โดยคุณสามารถชำระค่าคอร์สออนไลน์ผ่านบัตรเครดิต/เดบิต, Internet Banking, หรือโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
(กรุณาอ่านรายละเอียดก่อนเลือกช่องทางการชำระเงิน)

ขั้นตอน 3


3.1 ชำระผ่านบัตรเครดิต/เดบิต
กรอกเลขบัตรเครดิต/เดบิต และข้อมูลต่างๆ แล้วคลิกปุ่ม "ชำระเงิน" เมื่อชำระเสร็จเรียบร้อยจะสามารถเข้าเรียนได้ทันที
(กรุณาตรวจสอบยอดก่อนดำเนินการชำระเงิน)

3.2 ชำระผ่าน Internet Banking
เลือกธนาคารที่คุณเป็นสมาชิก Internet Banking แล้วคลิกปุ่ม "ชำระเงินผ่าน Internet Banking"
ระบบจะนำคุณไปยังเว็บ Internet Banking ของธนาคาร เมื่อชำระเสร็จเรียบร้อยจะสามารถเข้าเรียนได้ทันที

3.3 ชำระผ่านการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
คุณสามารถโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารบริษัทคอร์สสแควร์จำกัดด้วยเลขที่บัญชีที่ปรากฏบนหน้าจอ หรือโอนเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ (PromptPay)
เมื่อโอนเงินแล้ว คุณสามารถแจ้งการโอนเงินที่หน้า แจ้งโอนเงิน หรือแจ้งผ่าน Line: @coursesquare

รีวิวคอร์สจากผู้เรียน


    ได้ความรู้มากค่ะ
    ศศิ******นาง

    รู้ลึก รู้จริงเพิ่มความรู้แน่นๆ สำหรับนักบัญชี ชอบคุณมากคะ
    ดาร******มพา

    มีประโยชน์ต่องานที่ทำ อาจารย์อธิบายได้เข้าใจดีมากค่ะ
    สุพ*******ูธร

    ดีค่ะ อธิบายเข้าใจง่ายค่ะ
    ทัด*******กษา
    ได้ความรู้มากค่ะ
    ศศิ******นาง

    รู้ลึก รู้จริงเพิ่มความรู้แน่นๆ สำหรับนักบัญชี ชอบคุณมากคะ
    ดาร******มพา

    มีประโยชน์ต่องานที่ทำ อาจารย์อธิบายได้เข้าใจดีมากค่ะ
    สุพ*******ูธร

    ดีค่ะ อธิบายเข้าใจง่ายค่ะ
    ทัด*******กษา

ยังไม่มีรีวิวค่ะ

ยังไม่มีรีวิวค่ะ

ยังไม่มีรีวิวค่ะ

ยังไม่มีรีวิวค่ะ

เกี่ยวกับคอร์สนี้
เนื้อหาคอร์สทั้งหมด 8 ชั่วโมง
18 วิดีโอ
1 แบบทดสอบ
เรียนคอร์สนี้ได้ 60 วัน
เกี่ยวกับผู้สอน
อาจารย์เกชา สมใจเพ็ง
Dharmniti e-Learning