การจัดทำเอกสารของบัญชี-การเงิน และประเด็นภาษี ที่เจ้าหน้าที่บัญชี การเงิน แคชเชียร์ต้องระวัง
การจัดทำเอกสารของบัญชี-การเงิน และประเด็นภาษี ที่เจ้าหน้าที่บัญชี การเงิน แคชเชียร์ต้องระวัง
ชั่วโมงบัญชี
วิทยากรหลักสูตร: อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
เนื้อหาหลักสูตร
• เนื้อหาทั้งหมด จำนวน 9 บทเรียน
• ความยาว 6 ชั่วโมง
เอกสารประกอบการอบรม
• สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่หน้าวีดีโอการอบรม
อุปกรณ์การเข้าใช้งาน
• สามารถอบรมผ่าน PC, Notebook, Smartphone หรือ Tablet
รายละเอียดหลักสูตร
เทคนิคการจัดทำเอกสารของบัญชีการเงิน
1. การจัดระบบเอกสารงานการเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์
2. เอกสารที่ใช้ประกอบการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีและภาษีอากรต้องระมัดระวังอะไรบ้าง
3. การจัดทำระบบและรูปแบบรายงานทางการเงินให้มีประสิทธิภาพ
- ใบกำกับภาษี
- ใบรับในทางภาษีอากร
- ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้
- ใบส่งของ
- ใบแจ้งหนี้
- ใบแทน
- รายงานของฝ่ายการเงิน
4. การวางระบบการรับ-จ่ายเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์
5. การพิจารณาและแก้ไขปัญหาเอกสารทางบัญชีการเงิน แคชเชียร์
7. ระบบ National e-Payment สำหรับเจ้าหน้าที่บัญชี การเงิน แคชเชียร์
- การชำระเงินด้วยระบบ PromptPay, QR Code
- e-witholding Tax ทางเลือกใหม่ในการบริหารการชำระเงินและเอกสารภาษีจากสรรพากร
- ระบบ e-Tax Invoice และ e-Receipt
ประเด็นภาษีที่เจ้าหน้าที่การเงิน แคชเชียร์" ต้องระวังและให้สรรพากรยอมรับ
1. ปัญหาเกี่ยวกับเอกสารรายจ่าย เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์
- วิธีพิจารณาเอกสารรายจ่ายอย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้
- ผลของรายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
- 3 ข้อที่ต้องจำ เพื่อจบปัญหารายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
- รายจ่ายที่ผู้รับไม่ออกหลักฐานให้ต้องปฏิบัติอย่างไร
- มีใบรับเงินกับสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับเงิน เสี่ยง!! ถูกสรรรพากรประเมิน
- เผยเทคนิคเด็ด ให้การจ่ายเงินที่ผู้รับไม่ออกหลักฐานให้สามารถลงเป็นรายจ่ายได้
- รายจ่ายค่าพาหนะ ค่านํ้ามันรถ ค่าเบี้ยเลี้ยง ต้องมีบิลทุกครั้งหรือไม่หากไม่มีต้องปฏิบัติอย่างไร
2. ปัญหาเกี่ยวกับใบกำกับภาษีที่มักพบบ่อยสำหรับเจ้าหน้าที่บัญชี-การเงินแคชเชียร์
- การออกและรับใบกำกับภาษีตามหลักเกณฑ์กรมสรรพากร
- ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเป็นใคร และหากขายสินค้าหรือให้บริการไม่ออกใบกำกับภาษีได้หรือไม่ กำหนด จำนวนเงินในการออกใบกำกับภาษีหรือไม่
- รายการในใบกำกับภาษีต้องมีอะไรบ้าง หากมีครบถ้วนมีความผิดหรือไม่
- การออกใบกำกับภาษีเต็มรูป, ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ความผิดพลาดที่ต้องระมัดระวัง
- การขายสินค้าหรือให้บริการรายย่อยต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่
- ปัญหาใบกำกับภาษีสูญหาย, ถูกทำลาย, ชำรุด ต้องปฏิบัติอย่างไร
- ใบกำกับภาษีไม่มีลายเซ็นผู้รับเงิน มีข้อความไม่ครบขอคืนได้หรือไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายต้องห้าม
- หลักในการพิจารณาใบกำกับภาษีซื้ออย่างไรจึงจะขอคืนหรือเครดิตภาษีขายได้
- ภาษีซื้อต้องห้ามเป็นอย่างไร ต้องระมัดระวังอะไรบ้าง
3. ปัญหาที่เกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับเจ้าหน้าที่การเงิน แคชเชียร์ต้องระวัง
- หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่ายที่เจ้าหน้าที่การเงินต้องระมัดระวัง
- หลักเกณฑ์ในการหักภาษี ณ ที่จ่ายก่อนจ่ายเงิน
- ข้อยกเว้นไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายมีอะไรบ้าง
- อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย
- ปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่ายที่พบมากจากการทำงาน
- วิธีแก้ปัญหาเมื่อผู้รับเงินไม่ยอมให้หักภาษี ณ ที่จ่าย
- การออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย
การจัดระบบเอกสารงานการเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์ | 21.45 นาที |
เอกสารที่ใช้ประกอบการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีและภาษีอากรต้องระมัดระวังอะไรบ้าง | 42.42 นาที |
การจัดทำระบบและรูปแบบรายงานทางการเงินให้มีประสิทธิภาพ | 6.42 นาที |
การวางระบบการรับ-จ่ายเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์ | 44.08 นาที |
การพิจารณาและแก้ไขปัญหาเอกสารทางบัญชีการเงิน แคชเชียร์ | 29.43 นาที |
ระบบ National e-Payment สำหรับเจ้าหน้าที่บัญชี การเงิน แคชเชียร์ | 33.26 นาที |
ปัญหาเกี่ยวกับเอกสารรายจ่าย เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์ | 1.37.31 นาที |
ปัญหาเกี่ยวกับใบกำกับภาษีที่มักพบบ่อยสำหรับเจ้าหน้าที่บัญชี-การเงินแคชเชียร์ | 58.13 นาที |
ปัญหาที่เกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับเจ้าหน้าที่การเงิน แคชเชียร์ต้องระวัง | 29.46 นาที |
9050E การจัดทำเอกสารของบัญชี-การเงิน และประเด็นภาษีฯ.pdf |
ขั้นตอน 1
กรุณาเข้าสู่ระบบ เพื่อความสะดวกแนะนำให้ Login ด้วย Facebook หรือหากยังไม่เป็นสมาชิกกรุณาสมัครสมาชิกก่อนสั่งซื้อคอร์สเรียนขั้นตอน 2
เลือกช่องทางในการชำระเงิน โดยคุณสามารถชำระค่าคอร์สออนไลน์ผ่านบัตรเครดิต/เดบิต, Internet Banking, หรือโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร(กรุณาอ่านรายละเอียดก่อนเลือกช่องทางการชำระเงิน)
ขั้นตอน 3
3.1 ชำระผ่านบัตรเครดิต/เดบิต
กรอกเลขบัตรเครดิต/เดบิต และข้อมูลต่างๆ แล้วคลิกปุ่ม "ชำระเงิน" เมื่อชำระเสร็จเรียบร้อยจะสามารถเข้าเรียนได้ทันที(กรุณาตรวจสอบยอดก่อนดำเนินการชำระเงิน)
3.2 ชำระผ่าน Internet Banking
เลือกธนาคารที่คุณเป็นสมาชิก Internet Banking แล้วคลิกปุ่ม "ชำระเงินผ่าน Internet Banking"ระบบจะนำคุณไปยังเว็บ Internet Banking ของธนาคาร เมื่อชำระเสร็จเรียบร้อยจะสามารถเข้าเรียนได้ทันที
3.3 ชำระผ่านการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
คุณสามารถโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารบริษัทคอร์สสแควร์จำกัดด้วยเลขที่บัญชีที่ปรากฏบนหน้าจอ หรือโอนเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ (PromptPay)เมื่อโอนเงินแล้ว คุณสามารถแจ้งการโอนเงินที่หน้า แจ้งโอนเงิน หรือแจ้งผ่าน Line: @coursesquare
รีวิวคอร์สจากผู้เรียน
ยังไม่มีรีวิวค่ะ
ยังไม่มีรีวิวค่ะ
ยังไม่มีรีวิวค่ะ
ยังไม่มีรีวิวค่ะ
ยังไม่มีรีวิวค่ะ
ยังไม่มีรีวิวค่ะ
เกี่ยวกับคอร์สนี้ |
---|
เนื้อหาคอร์สทั้งหมด 6 ชั่วโมง 3 นาที |
9 วิดีโอ |
เรียนคอร์สนี้ได้ 60 วัน |
เกี่ยวกับผู้สอน
Dharmniti e-Learning